วันเสาร์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2554

สัปดาห์ที่ 3 computer assisted design: Online Tools





ศึกษาสัดส่วนและการจัดวางช่องไฟของการออกแบบฟอนต์
1.Font Kerning
2.Font Mpping
3.Bearing ชาน
4.Baseline เส้นตรงกลาง
5.X-Height
6.Cap-Height
7.Glyph รูปอักขระ
8.Font Template
9.Program Font
10.Tye Aranging
11.Asender
12.Descender




ที่มา:http://arti3319.blogspot.com/2011/07/blog-post.html

สรุปงานสัปดาห์ที่3
-ดาวน์โหลดtemplate จาก http://sites.com/site/arti2035/fontfile หรือจากที่ผู้สอนแชร์เอกสารผ่านทางGoogel doc
-เขียนฟอนต์ลายมือลงในเทมเพลตโดยใช้หมึกดำ ประมาณสามแผ่นแล้วอัพโหลดลง http://www.fontself.com/ พร้อมรายงานสรุป
-ดาวน์โหลดฟอนต์th ,sipa font :ซึ่งเป็นฟอต์แห่งชาติพยัญชนะไทย ศึกษาลักษณะและรายละเอียดของฟอนต์
-ศึกษาฟอนต์ภาษาอังกฤษ ขนาด ลักษณะ การจัดช่องไฟ ฯลฯ และนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับพยัญชนะไทย โดย ต้องมีการเปรียบเทียบสระ วรรณยุกต์ด้วย

-สรุปงานโปรเจคคือ English-Thai-Font Mathing
 -ฟอนต์ลายมือทำด้วยโปรแกรม Font Creator

วันศุกร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2554

สัปดาห์ที่ 2 technology for Visual Communication Design

สรุปผลการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 2
1.อธิบายการรายงานข่าวหน้าชั้นเรียน เนื่องจากผู้รายงานไม่มีคสฃวามพร้อมในการรายงานข่าว โดยการนำเสนอข่าวรายงาน ในนำเสนอในรูปแบบของ google presentationและจัดเก็บไฟล์ลงในgoogledocอธิบายรายวิชา ARTI3319 ซึ่งผู้เรียนที่เคยเรียนผ่านมาจากวิชาออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์เคยนำเสนอเช่นเดียวกัน และส่งไฟล์นำเสนอไปแชร์กับให้ครูผู้สอนเพื่อเป็นหลักฐานในการทำงาน และเผยแพร่ขอมูลลงใน blogspot ต่อไป
2.แนะนำและสอนโปรแกรมออนไลน์ http://www.surveycan.com/default/index ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ใช้สำรวจแบบสอบถามแบบออนไลน์ ซึ่งสะดวกในการใช้งานและสามรถนำไปใช้ในการตอบแบบสอบถามของการทำงานวิจัยด้วย ดดยให้สมัครสมาชิกแมมเบอร์และลองทดสอบใช้งานโปรแกรม
3.ยกตัวอย่างการใช้โปรแกรม pain.net ซึ่งเป็นดปรแกรมตกแต่งรูปภาพ สามารถใช้งานง่าย









4.โปรแกรมผู้สอนแนะนำให้ไปศึกษาวันนี้ sipa-fonts,fontlab,fontcreator,toonboom เว๊บไซต์ออกแบบฟอนต์และฟรีฟอนต์ fontself.comlสมัครเป็นแมมเบอร์และลองออกแบบฟอนต์ลายมือเขียนตัวเอง
5.ทดสอบก่อนเรียนทางhttp://chandraonline.chandra.ac.th/ เป็นการสร้างวิชาใหม่ในระบบโดคีออส อีเลิร์นนิ่งของผู้สอนได้ให้นักศึกษาได้มีสวนร่วมในการใช่ระบบด้วย โดยสอบPretest ออนไลน์ผ่านทางระบบนี้ด้วย


งานประจำสัปดาห์
1.พัฒาิblogger ให้เป็นระเบียบเหมาะสมต่อการเป็นนักออกแบบโดยการสรุปเนื้อหาการเรียนลงบล๊อกทุกสัปดาห์ และใช้เทมเพลทแบบเดียวกันกับที่ผู้สอนได้เผยแพร่ให้
2.สั่งงานเครียมความพร้อมในการออกแบบฟอนต์ที่เป็นลายมือตัวนักออกแบบเอง โดยการออกแบบนี่จะศึกษาและเผยแพร่ผลงานการออกแบบผ่านทาง www.fontselft.com โดยเริ่มจากการดาวน์โหลดแทมเพลตฟอนต์A-Zจากเว็บไชต์แล้วดำเนินการออกแบบ โดยเริ่มต้นกระบวนการออกแบบจากโปรแกรมที่ผู้เรียนถนัด photoshop,illustrator,net.pain,ฯลฯ
รายละเอียดงาน
-โหลดเทมเพลตจาก http://www.fontself.com/
-เขียนฟอนต์ลายมือตัวเองแล้วพิมพ์ลงกระดาศเอสีีพร้อมไฟล์ในรูปpsd,ai,png,ไฟล์จริงจากโปรแกรมที่นักออกแบบใช้
-ขนาดฟอนต์ที่ออกแบบ ขนาด 1000pt
3.หาฟอนต์ภ่ษาอังกฤษโดยศึกษาและหาข้อมูลเกี่ยวกับฟอนต์อย่างละเอียดและเป็นฟอนต์ที่ไม่สามารถพิมพ์ในรูปแบบของพยัญชนะไทยได้ โดยนำมาปรับให้เข้ากับพยัญชนะไทย
รายละเอียดงาน
-ร่างแบบ 3-4 แบบ
-วิเคราะห์เทียบกับตัวพิมพ์ Hxpd,wsu
-โปรฟรีฟอนต์แนนำ font.com,freefont.com,thaifont.info


วิดีโอตัวอย่างการ Create your own fonts

Fontself Creator (2′25") from Fontself on Vimeo.
ข้อมูลจาก:http://www.fontself.com/my-fonts/ ท่านสามรถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไฃต์

วันพฤหัสบดีที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2554

สัปดาห์ที่1 Intruduction-Pretest

 ผู้สอนอธิบายถึงแนวการสอนเกี่ยวกับวิชาเทคโนโลยีการออกแบบ พร้อมทั้งชี้แจงถึงเนื้อที่จะต้องเรียนต่อไป โดยเน้นให้ผู้เรียนได้ใส่ใจและศึกษาความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในงานออกแบบเพื่อเป็นแนวทางในการเรียนการสอนและประกอบอาชีพในอนาคต โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 

   แนะนำเนื้อหาของรายวิชาที่เปิดสอน ข้อตกลงในการเข้าเรียน การแต่งกาย ความสนในและเอาใจใส่ในงาน โดยแจ้งให้ผู้เรียนได้นำเสนอข่าวและรายงานข่าวที่เป็นศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี ซอฟท์แวร์ เพื่อให้ผู้เรียนได้รู้จักการสืบค้นข้อมูลอย่างถูกต้องและนำเสนอข่าว รายงานสัปดาห์ละ 3 คน คนละไม่เกิน 5นาทีโดยมีผู้เรียนทั้งหมดทั้งหมด35 คน เรียน12 สัปดาห์

ผู้สอนได้ชี้แจงให้นักศึกษาติดตามข้อมูลข่านสารผ่านทาง google+และ http://arti3319.blogspot.com และสรุปผลการเรียนรู้รายสัปดาห์ผ่านทาง blogspot 







สรุปงานสัปดาห์ที่1
1.ผู้เรียนตกลงเนื้อหาในการเรียนกับผู้สอนเป็น ออกแบบฟอนต์ 
2.สมัครอีเมล์และติดตามข่าวสารจากผู้สอน
3.เปิดblogspotเพื่อสรุปเนื้อหาทุกสัปดาห์และเสนอผลงาน
4.สั่งงานสัปดาห์หน้าและเตรียมทดสอบความรู้
5.สมัครเป็นสมาชิกทาง http://chandraonline.chandra.ac.th/   เพื่อใช้ในการสอบ
6.สมัครรับข้อมูลและสมาชิกช่อง Prachid's Youtube.com Chanel วิดีโอสอน-แนะนำความรู้และบันทึกการเรียนการสอนของ ผศ.ประชิด ทิณบุตร
ติดตามและศึกษาข้อมุลจากแหล่งคสามรู้ที่ผุ้สอนได้เผยแพร่แหล่งสนับสนุนการเรียนรู้นอกเวลาในชั้นเรียน
1.เว็บบล็อกบันทึกการเรียนการสอนประจำวิชาเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ http://arti3319.blogspot.com/
arti3319.jpg

2.สมัครสมาชิกYoutubeและติดตามข้อมูลจากผู้สอนวิดีโอบันทึกการสอนที่ช่อง Prachid's Youtube.com
prachidyoutubechanel.jpg

3วิดีโอบันทึกการสอนที่ช่อง Prachid's Tutorials
prachidtutorial1.jpg


ชี้แจงจุดมุ่งหมายของรายวิชา
1 เพื่อให้นักศึกษาตระหนักรู้ในคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ในการใช้งานเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์
2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ได้ฝึกทักษะการใช้งานเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์
3 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการนำเสนอแฟ้มผลงานและการสรุปรายงานผลการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้วยการใช้รูปแบบ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ตามวิถีทางของนักออกแบบและทำงานได้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานปัจจุบัน
วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
1 เพื่อให้รายวิชามีความทันสมัย อย่างสากล ที่สามารถสอดรับกับองค์ความรู้ใหม่ การฝึกทักษะและเทคนิคกระบวนการใช้งานเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ ได้สอดคล้องกับตลาดแรงงานจริงปัจจุบัน หรือบูรณาการใช้กับรายวิชาปฏิบัติการในหลักสูตรสถานศึกษาอื่นๆได้ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต
2 เพื่อสามารถบูรณาการสื่อการสอน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์สนับสนุนเนื้อหาสาระ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้หลากหลายวิธี ให้มีความสอดคล้อง ยืดหยุ่น เหมาะสมกับศักยภาพและความเป็นจริงปัจจุบันหรืออนาคตของการวางแผนพัฒนา ผู้สอน ห้องเรียนห้องปฏิบัติการ นักศึกษา สังคม สิ่งแวดล้อมและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เปลี่ยนแปลงไป

ข้อตกลงเบื้องต้นในการเรียนการสอนและการประเมินผล
การพิจารณาเกณฑ์ผ่านในรายวิชาผู้เรียนจะต้อง
1.มีเวลาเข้าชั้นเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด หากเวลาเรียนไม่พอตามที่กำหนดจะพิจารณาผลเป็นตกเนื่องจากเวลาเรียนไม่พอ ไม่มีสิทธิ์สอบ โดยได้รับค่าระดับคะแนน F (Failed, Insufficient Attendance)
2. ผู้เรียนจะต้องมีคะแนนรวมทั้งรายวิชาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนรวมทั้งหมด
3.ผู้ที่ผ่านเกณฑ์ข้อ 2 จะได้รับค่าระดับคะแนนตามเกณฑ์ ดังนี้
คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป จะได้ค่าระดับคะแนน A
คะแนนร้อยละ 75-79 จะได้ค่าระดับคะแนน B+
คะแนนร้อยละ 70-74 จะได้ค่าระดับคะแนน B
คะแนนร้อยละ 65-69 จะได้ค่าระดับคะแนน C+
คะแนนร้อยละ 60-64 จะได้ค่าระดับคะแนน C
คะแนนร้อยละ 55-59 จะได้ค่าระดับคะแนน D+
คะแนนร้อยละ 50-54 จะได้ค่าระดับคะแนน D
คะแนนต่ำกว่าร้อยละ 50  จะได้ค่าระดับคะแนน F
4.ผู้เรียนต้องใช้อีเมลชื่อจริงนำหน้า@gmail.com และเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวตามจริงและเปิดเผยได้ เพื่อแสดงตัวและรับรู้ข่าวสาร การทำกิจกรรมออนไลน์และการประเมินผลการเรียนการสอนตามที่แจ้งและตกลงในชั้นเรียนปกติ